วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556

สรุปงาน วิจัย
ชื่อผู้วิจัย: ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการสาน

ผู้วิจัย: วันดี มั่นจงดี

ความสำคัญของการวิจัย:     ผลของการศึกษาครั้งนี้จะเป็นเเนวทางให้กับครูเเละผู้ที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการศึกษาปฐมวัยได้ตระหนักเเละเข้าใจถึงความสำคัญในการจัดกิจกรรมการสาน
เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยอย่างมีความหมายเเละเกิดประโยชน์
สามารถนำกิจกรรมการสานไปใช้ พัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งนำผลของ
การศึกษาวิจัยไปใช้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นอย่างดี

กลุ่มตัวอย่าง:  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 4-5 ปี
ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่1  ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2553 ของโรงเรียนวัดนิมมานรดี สังกัด
กรุงเทพมหานคร ที่ได้มาโดยวิธีการ เลือกเเบบเจาะจงเลือกห้องเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 มา 1 ห้องเรียน
จำนวน 30คน

สรุปผลการวิจัย: 1 ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั่งโดยรวมเเละรายด้านของเด็กปฐมวัย
หลังการจัดกิจกรรมการสาน สูงกว่า ก่อนการจัดกิจกรรมการสาน
 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
                         2.เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนการทดลอง ทั้งโดยรวมเเละ
รายด้านทุกด้านอยู่ในระดับพอใช้ หลังการจัดกิจกรรมการสานเด็กปฐมวัยมีทักษะ
พื้นฐานทางคณิตศาสตร์   ทั้งโดยรวมเเละรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับดี

วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16

วันอังคารที่19กุมภาพันธ์2556
วันนี้อาจารย์สนทนา ซักถามกับนักศึกษาเกี่ยวกับงานกีฬาสี
งานปัฉฉิมนิเทศ  การศึกษาดูงาน  เเละบายเนียร์
การเรียนการสอนในวันนี้ เขียนความรู้ที่ได้รับในการเรียนวิชานี้
ทักษะที่ได้ วิธีการสอน เเละเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ที่ว่าในการจะเเบ่งสิ่งของใดๆต้องมีเกณฑ์เดียว



 

วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์  2556
เพื่อนสอบสอน หน่วยเรื่อง อวัยวะภายนอก
วันเเรก   - เด็กๆค่ะอวัยวะภายนอกที่เด็กๆมองเห็นมีอะไรบ้างค่ะ
              - เด็กยกมือตอบ เเล้วครูก็จดลงบนกระดาน ตามที่เด็กบอก
              - อวัยวะอะไรบ้างค่ะที่มี 1 อัน ไหนบอกครูสิค่ะ
วันที่สอง -ทบทวนอวัยวะภายนอกของเมื่อวาน เเละก็พูดเรื่องลักษณะ รูปร่าง สี พื้นผิว ของอวัยวะ
              - เสร็จเเล้วก็ร่วมกันสรุป
วันที่สาม -ทบทวนของวันที่สอง ตรงที่สรุป
              -ร้องเพลง ตาเรามีไว้ดู
ใช้คำถาม ตามีไว้ทำอะไรค่ะ    ดูอะไรได้บ้างค่ะ
หูเรามีไว้ทำอะไรค่ะ  ฟังอะไรได้บ้างค่ะ   บอกครูสิค่ะว่า จมูกมีไว้ทำอะไรค่ะ ปากละค่ะ
  (ทำเป็นเเมป)
----ไหนบอกครูสิค่ะว่า อวัยวะของเรามีหน้าที่อะไรกันบ้าง
----สรุป อวัยวะของเรามีหน้าที่เเตกต่างกัน
วันที่สี่  --ประโยชน์ของอวัยวะ (ผลที่จะได้รับ)
  เพื่อนเล่านิทาน เเละก็มาสรุปว่า จมูกดมกลิ่น รู้ว่ากลิ่นหอม (เเยกเเยะกลิ่นได้)
  ถือของ หอบสิ่งของ  สามารถที่จะประกอบอาหารได้
วันที่ห้า รักษาความสะอาดของอัวยวะภาพนอก (มีภาพ)
ตา-----ผงเข้าตา  ผงเข้าตาให้รีบบอกพ่อ เเม่ เด็กๆทายสิ พ่อ เเม่  จะทำอย่างไร
            (ให้เด็กลืมตาในน้ำเหมือนที่เด็กๆกำลังว่ายน้ำ)
---สรุปตอนท้ายร่วมกับเด็กๆ

วันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14

วันอังคารที่5กุมภาพันธ์ 2556
กลุ่มที่4 สอนหน่วยเรื่อง กระดุม
วันเเรก   นำเข้าสู่บทเรียนโดย1.  ครูร้องเพลง  

    หลับตาเสีย    อ่อนเพลียทั้งวัน
นอนหลับเเล้วฝัน   เห็นเทวดา
มาร่ายมารำ            งามขำโสภา
พอตื่นขึ้นมา           เทวดาไม่มี
   
2.ครูเเจกภาพที่เป็นจิกซอ รูปกระดุม ให้เด็กเป็นบางคน
3. .ให้เด็กนำภาพที่ได้มาต่อหรือวางให้เกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์
4. เด็กๆบอกคุณครูซิค่ะว่า เป็นภาพอะไร
ชนิดของกระดุม
กระดุมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างค่ะ เด็กบอกเเละครูก็เขียนตามที่เด็กบอกไว้บนกระดาน
เด็กๆอยากทราบไหมค่ะว่าในขวดนี้มีกระดุมทั้งหมดกี่เม็ด
(อยู่ในการคาดคะเน คือการวัดเเบบไม่เป็นทางการ)
- ครูนับกระดุมในขวด
1 2  3 4 5 6 7
น้องปลาบอกว่ามี7 เม็ด เพื่อนๆปรบมือให้น้องปลาด้วยค่ะ
ไหนใครจะมาช่วยคุณครูหยิบเลขมากำกับไว้ค่ะ
-ครูมีกระดุมมา ซึ่งประกอบด้วยกระดุมที่มี4รู เเละ 1 รู
เด็กเเยกกระดุมที่มี 1 รู  ออก ได้ 4 เม็ด เเละกระดุมที่มีมากกว่า 1 รู มี3เม็ด

วันที่สอง ลักษณะของกระดุม
กระดุมโลหะ กับ กระดุมอโลหะ จะรู้ได้อย่างไรก็ใช้เเม่เหล็กมาดูด

วันจันทร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13

วันอังคารที่29 มกราคม 2556

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
 อาจารย์ผู้สอน สนทนา ซักถาม --เกี่ยวกับงานกีฬาสีของสาขา เเละงานเลี้ยงส่งรุ่นพี่ปี5
 จัดกิจกรรมในวันพุธที่6 กุมภาพันธ์ 2556
ปี3 ทั้งหมด66คน
-- รำ = นางสาว สว่างจิต คำชมภู (เชิญพระขวัญ) (1คน)
--ร้องเพลง=นางสาว รัตติยา ตั่งอั่น (เพลงหนูไม่รู้)(1คน)
--โฆษณา= นางสาวนิศาชล กุลอัก เเละนางสาว ละมัย ใจดี(คน2)
--พิธีกร=นางสาวรุ่งนภา คำจันทร์ทา เเละนางสาว ปราณิตา นะอิบราเฮม(2คน)
--การเเสดงโชว์= ลิปซิ๊งเพลง
 (นางสาวจุฑามาศ สังข์ทอง)เเละ (นีรชา บัวสุวรรณ)(2คน)
เต้นประกอบเพลง= (นางสาวพลอยปภัส ภักดี)
                               (นางสาวเกตุวดี วงค์เเพทย์)
                               (นางสาวมาลินี ทองพันชัง)(3คน)
ละครใบ้= (นางสาวอัจฉรา สุขประเสริฐ)เเละ(นางสาวจันทร์สุดา เทียมโฮม)(2คน)
ตลก= (นางสาวณัฐชา พุ่งพะเนิน)(นางสาวดาราวรรณ นาวงศ์) (นางสาวชวนชม ด่านเเก้ว)(3คน)
ผู้กำกับหน้าม้า=(นางสาวพวงทอง ก่อยิ่ง) (นางสาวนฏา หาญยุทธ)(2คน)
หน้าม้า=สมาชิกที่เหลือ(48คน)

รูปเเบบการเรียนการสอนเเบบโครงการโดยผ่านกิจกรรม
  เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่1  การเเบ่งเเต่ละฝ่าย มี7ฝ่าย
สาระที่2  เวลา

15:00-15:10น. รำ, ร้องเพลง, โฆษณา
15:10-15:30น. เเสดงโชว์เเต่ละรายการ

สาระที่3 ทิศทาง






 


สาระที่4   เเบบรูป / เเบบรูปที่เด็กปฏิบัติเอง  เนื้อร้อง ท่อนสร้อย

สาระที่5 เสร็จงาน รวบรวมข้อมูลว่ามีปัญหาอะไรเเละประเมินการทำงาน

วันเสาร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 22 มกราคม 2556

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
เเต่ละกลุ่มนำเสนอการสอนของหน่วยตนเอง
หน่วยเรื่อง ขนมไทย
วันที่1
เเยกประเภท
-ขนมถ้วยรูปทรง--------กลม
-ขนมชั้นรูปทรง---------สี่เหลี่ยมจัตุรัส
-ขนมเม็ดขนุน-----------วงรี
จับคู่
-รูปภาพกับรูปภาพ
-ภาพกับคำ   ภาพกับตัวเลข
-ความสัมพันธ์สองเเกน
วันที่2
-นับจำนวน
-เเยกประเภทขนมเเล้วนับ
-จับคู่ภาพ เเลพภาพเป็นส่วนๆ (ในวันนี้เราอาจเพิ่มจำนวนขนมไทยได้)
ครูเเบ่งขนมชั้นเป็นครึ่งหนึ่ง ได้ 2 ส่วน
เเบ่งอีกครึ่งคือได้ 4 ส่วนเท่าๆกัน
เรียกเด็ก4คนมาชิม เด็กบอกรสชาติ
อนุกรม
หน่วยเรื่อง  ข้าว
วันที่1
ส่วนประกอบของต้นข้าว
ลักษณะของข้าว
-เมล็ดข้าวสารเจ้า
-เมล็ดข้าวสารเหนียว
-เมล็ดข้าวเหนียวดำ
วันที่2
การเก็บรักษาข้าว เพื่อไว้กินนานๆ ป้องกันมอด
ภาชนะที่เก็บข้าวมาให้เด็กดู
1 ถัง
2 กระบุง
3 กระสอบ
4 ยุ้งฉ่าง
รูปเรขาคณิตของภาชนะเก็บรักษาข้าว
-วงกลม  -สามเหลี่ยม  -สี่เหลี่ยมจัตุรัส  -สี่เหลี่ยมพื้นผ้า -ทรงกระบอก
ที่เก็บข้าวมี4 ชนิด
-เก็บข้าวไว้ในถังเด็กๆเก็บไว้ที่บ้าน
- เก็บไว้ในกระสอบเก็บเพื่อเราจะเอาไปขาย
-ยุ้งฉ่างไว้เก็บข้าวเปลือก
หน่วยเรื่อง กล้วย
ชนิดของกล้วย
ชื่อของกล้วยเเต่ล่ะชนิด
ข้อควรระวัง
- ผูกเรื่องเป็นนิทาน
-ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน (ตำเเหน่ง)
-เดินไปสวนหลังบ้านผ่านอะไรบ้าง
-เอาไม้มาพยุงต้นกล้วยให้มันสูงขึ้น (สูง-ต่ำ)
-ล้อมรั่วไม่ให้กล้วยหาย (พื้นที่)
การขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปมือ
-ขุดดิน เอาหน่อกล้วยมาปลูก พรวนดิน รดน้ำ
-ใน1เเถวมีต้นกล้วยกี่ต้น
-เเบ่งกลุ่มที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด
ภาพขณะสอนเรื่องข้อควรระวัง

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 15 มกราคม 2556

    ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
               - การสอนของ หน่วยเรื่องขนมไทย การนำเข้าสู่เนื้อหาที่จะสอน
     เช่น เด็กๆรับประทานข้าว  ขนม  ขนมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างไหนบอกคุณครู
     ซิค่ะ เเละเด็กๆ รู้จักขนมไทยไหมค่ะ  วันนี้คุณครูมีขนมไทยมา
      เด็กๆอยากดูไหมค่ะ

     หมายเหตุ : เนื่องจากวันนี้อาจารย์มีธุระ ด่วน จึงนำเสนองานได้ไม่ครบ
                    เเละได้นำเสนองานการสอนเเต่ล่ะหน่วยในอาทิตย์ถัดไป

วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่10

วันอังคารที่8 มกราคม 2556

ถ้ากล่าวถึง มาตรฐาน เราจะนึกถึง คุณภาพ มาตรฐานเป็นสิ่งที่ทุกคนยอมรับ


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี (สสวท)

มาตรฐานการเรียนรู้เเละตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ปฐมวัย

สาระที่1: จำนวนเเละการดำเนินการ

- จำนวน คือ ค่า / การนับ / ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์มากำกับ
-การดำเนินการ  เข้าใจถึงความหลากหลายของการเเสดงจำนวนเเละการใช้จำนวนในชีวิตจริง

สาระที่2: การวัด

นึกถึง ปริมาณ / ระยะ / ตลับเมตร / ปรอท

สิ่งที่เรานึกถึงก็จะเเบ่งออกได้เป็น 1. เครื่องมือในการวัด 2.ค่าหรือปริมาณ

สาระที่3: เรขาคณิต

รูปทรงต่างๆ

 การบอกตำเเหน่ง: ซ้าย ขวา หน้า หลัง บน ล่าง เฉียง ขอบๆ
ทิศทาง: ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
ระยะทาง: ปริมาณ/ค่า/ตัวเลข/หน่วย/เครื่องมือ

สาระที่4:พีชคณิต
คือ เข้าใจเเบบรูปเเละความสัมพันธ์

เเบบรูป หรือ เซต ชุด

ความสัมพันธ์สองเเกน

สาระที่5: การวิเคราะห์ข้อมูลเเละความน่าจะเป็น
 
เลือกจากที่ใกล้ตัวเด็กเป็นสิ่งที่เด็กสนใจ/ของจริง/ภาพ/สัญลักษณ์

สาระที่6: ทักษะเเละกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การเเก้ปัญหา)

ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย





จากภาพ

เราสามารถนำมาเป็น  สื่อการสอน / สื่อที่เด็กเล่นเอง

สื่อการสอน
- จับคู่ขนาดที่เท่ากัน
-เรียงลำดับใหญ่ไปเล็ก
-การนับจำนวน
-การเเทนค่า

จากสื่อที่เราได้ทำสามารถสอนกับเด็กปฐมวัย
1 การร้อย  - ร้อยเเบบมีตัวเลขกำกับไว้ด้านล่าง
              -   ร้อยตามเเบบขนาดของดอกที่ครูกำหนด
                - ร้อยตามเเบบที่ครูกำหนดเเละใช้ไม้หนีบคันกลางไว้
2 เรียงภาพต่อเนื่อง
3 วางทับตามเเบบ
4 เป็นบล็อก
5 ทับเเล้ววาดตาม
6 เป็นสื่อในการวัด

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่9

วันอังคารที่1 มกราคม 2556

หมายเหตุ: หยุดวันขึ้นปีใหม่